ตัวอย่างเอกสารพร้อมใช้
ร่างโดยทนายความผู้เชี่ยวชาญ
เอกสารรับรองแปลไทย-อังกฤษ
ตัวอย่างเอกสารพร้อมใช้
ร่างโดยทนายความผู้เชี่ยวชาญ
เอกสารรับรองแปลไทย-อังกฤษ
Home › Business contracts (TH) › Non-disclosure agreement (NDA) (TH)
เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ สัญญารักษาความลับทางธุรกิจ
บริษัทมักจะต้องมีส่วนร่วมในการหารือกับบุคคลที่สาม, ไม่ว่าจะเป็นคู่ค้าทางธุรกิจ, ผู้ร่วมงาน, นักลงทุน หรือผู้จัดหางานก็ตาม. ในบริบทนี้, บริษัทมักถูกขอให้ให้ข้อมูลที่ละเอียดอ่อนหรือข้อมูลเชิงกลยุทธ์และข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจของตน, ไม่ว่าจะเป็นเชิงพาณิชย์, อุตสาหกรรม, การบัญชี, กฎหมายหรืออื่นๆ. อย่างไรก็ตาม มีความเสี่ยงที่คู่ค้าหรือคู่แข่งจะใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่ได้รับ, แม้ว่าจะเกินจริงในบางครั้งก็ตาม. เพื่อรับประกันการรักษาความลับของข้อมูลนี้, บริษัทต่างๆ สามารทำ สัญญารักษาความลับทางธุรกิจ . โดยเทมืส พาร์ทเนอร์, จะนำ สัญญารักษาความลับทางธุรกิจ ของคุณที่ปรับให้เข้ากับกฎหมายไทยในภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อปกป้องข้อมูลทั้งหมดที่จะแบ่งปันกับคู่สัญญาของคุณ.
📄 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
สัญญารักษาความลับทางธุรกิจ คืออะไร?
สัญญารักษาความลับทางธุรกิจ เป็นเอกสารลายลักษณ์อักษรซึ่งผู้มีโอกาสเป็นผู้ซื้อตกลงว่าจะใช้ข้อมูลที่ได้รับเฉพาะในบริบทของโครงการเพื่อเข้าถึงบริษัทเท่านั้น, และจะไม่เปิดเผยข้อมูลที่ได้รับไปยังบุคคลที่สาม, ไม่สื่อสารต่อข้อมูลที่ได้รับแก่บุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญที่ให้คำแนะนำ, ไม่ใช้ข้อมูลที่ได้รับมาเพื่อก่อความเสียหายให้แก่บริษัท, และจะส่งคืนข้อมูลทั้งหมดที่ได้รับโดยไม่เก็บสำเนาทางกายภาพหรือดิจิทัลในกรณีที่โครงการล้มเหลว.
นอกจากนี้ยังสามารถรวมข้อตกลงที่จะไม่ชักชวนหรือพยายามชักจูง โน้มน้าวพนักงานของบริษัท. ข้อตกลงนี้เป็นที่เข้าใจได้ง่ายเพราะผู้ทำสัญญา,จะรู้ว่าใครคือพนักงานคนสำคัญของบริษัท,ผ่านข้อมูลส่วนตัวที่มี. โดยการลงลายมือชื่อใน สัญญารักษาความลับทางธุรกิจ ,ผู้ทำสัญญามักรับทราบถึงลักษณะข้อมูลที่เป็นความลับที่ได้รับและข้อเท็จจริงที่ว่าบริษัทจะได้รับอันตรายหากไม่ปฏิบัติตาม สัญญารักษาความลับทางธุรกิจ .
ทำไมต้องลงลายมือชื่อใน สัญญารักษาความลับทางธุรกิจ ที่เป็นลายลักษณ์อักษร?
ในการทำธุรกิจ, การรักษาความลับเป็นสิ่งสำคัญ. เทคโนโลยีใหม่, กลยุทธ์ทางธุรกิจ, ข้อมูลทางการเงิน, นวัตกรรมทางเทคนิค, ข้อมูลส่วนบุคคล, ข้อมูลที่ละเอียดอ่อน โดยเฉพาะเกี่ยวกับการแข่งขัน. ในบริบทของความสัมพันธ์ทางธุรกิจ, ข้อมูลดังกล่าวมักจะถูกเปิดเผย, อย่างน้อยก็บางส่วน, เพื่อให้การเจรจามีประสิทธิภาพ.
ดังนั้น, ในระหว่างการพูดคุยกับคู่ค้า, ผู้ซื้อ, หรือผู้มีโอกาสเป็นนักลงทุน, อาจจำเป็นต้องตรวจสอบดุลยพินิจของผู้ติดต่อ. อันที่จริง, บริษัทไม่อาจเสี่ยง หากบุคคลที่สามที่กำลังเจรจาด้วยอาจหยุดการเจรจาและเปิดเผยข้อมูลที่ละเอียดอ่อนต่อการแข่งขันหรือใช้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ของตน. การเปิดเผยความลับดังกล่าวสามารถทำให้เกิดการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม, ทำลายกฎของจรรยาบรรณวิชาชีพเฉพาะสำหรับวิชาชีพ, หรือการคุ้มครองต่างๆ ตามกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาและทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม, อีกทั้ง สิ่งนี้อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อบริษัทแล้วในภายหลัง, หากป้องกันไม่เพียงพอ.
สัญญารักษาความลับทางธุรกิจ
ตัวอย่าง (.docx)
ประหยัดค่าทนาย
310 รีวิวของลูกค้า (4.8/5) ⭐⭐⭐⭐⭐
แบ่งปันข้อมูล
ทำไมต้องเทมิส พาร์ทเนอร์?
ทำเอกสารกฎหมายแบบง่ายด้วยตัวคุณเอง
ทำเอกสารที่ไว้ใจได้เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ
เอกสารต่างๆ
ทางลัดไปที่จัดเก็บเอกสารทั้งหมดสำหรับประเทศไทย.
ความช่วยเหลือตลอด 24/7
คำแนะนำด้านกฎหมายอย่างง่ายจากทนายความผู้เชี่ยวชาญของเรา.
ง่ายต่อการแก้ไข
เอกสารที่แก้ไขได้ ไม่จำกัดการแก้ไขและสำเนา.
ไม่มีค่าบริการการแปล
การรับรองคำแปลไทย-อังกฤษสำหรับเอกสารทุกฉบับ.
ถูกกฎหมายและไว้ใจได้
เอกสารร่างโดยทนายความที่คุณไว้
ให้คำปรึกษาฟรี
มีทนายความให้คำปรึกษาฟรีในแต่ละกรณีใหม่ๆ.